รับวางระบบ ที่ดินดีภาษี0

ที่ดิน ทรัพย์สินอันล้ำค่า ราคาขึ้นทุกปี คนโบราณจึงมักให้เป้นมรดกตกทอดกับลูกหลาน 

มาตรา ๖ ประมวลกฏหมายที่ดินบัญญัติไว้ว่า นับตั้งแต่วันที่ประกาศของคณะ ปฏิวัติฉบับนี้ใช้บังคับ บุคคลใดมีสิทธิในที่ดินตามโฉนด ที่ดินหรือหนังสือรับรองการทําประโยชน์ หากบุคคล นั้นทอดทิ้งไม่ทําประโยชน์ในที่ดิน หรือปล่อยที่ดินให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า เกินกําหนดเวลาดังตอไปนี้ การทอดทิ้งไม่ทํา ประโยชน์ (๑) สําหรับที่ดินที่มีโฉนดที่ดิน เกินสิบปีติดต่อกัน - กรณีโฉนด (๒) สําหรับที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทํา ประโยชน์เกินห้าปีติดต่อกัน - กรณีหนังสือรับรอง การทําประโยชน์ให้ถือว่าเจตนาสละสิทธิในที่ดินเฉพาะส่วนที่ ทอดทิ้งไม่ทําประโยชน์หรือที่ปล่อยให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า เมื่ออธิบดีได้ยื่นคําร้องต่อศาลและศาลได้สั่งเพิก ถอนหนังสือแสดงสิทธิในที่ดินดังกล่าวให้ที่ดินนั้นตก เป็นของรัฐเพื่อดําเนินการตามประมวลกฎหมายนี้ ต่อไป

สรุปได้ว่า ที่ดินมีโฉนด หากรกร้างเกิน ๑๐ ปี ติดต่อกัน แต่ถ้าที่ดินนั้นเป็นที่ดินที่มีเพียงหนังสือรับรองการทำประโยชน์จะมีระยะเวลาเพียง ๕ ปีเท่านั้น เมื่อครบกำหนด ๑๐ ปี หรือ ๕ ปี ที่ดินจะตกเป็นของรัฐทันทีโดยไม่ต้องมีคำสั่งของศาล และอธิบดีกรมที่ดินก็จะยื่นคำร้องต่อศาลให้ศาลสั่งเพิกถอนโฉนดที่ดินหรือหนังสือรับรองการทำประโยชน์ในที่ดินนั้นได้  กดดูข้อกฏหมายกดที่นี่

ภาษีที่ดินเพิ่มขึ้นตลอดตามราคาประเมินซึ่งส่วนใหญ่เก็บจากคนรวยซึ่งมีที่ดิน จึงเป็นภาษีที่ลดการเหลื่อมล้ำของรายได้ของประชาชนในประเทศ

เจตนารมณ์ของกฏหมายภาษีนี้ คือ ไม่ต้องการให้เป็นที่รกร้างว่างเปล่า ไม่ได้ใช้ประโยชน์ ดูไม่งามตา จึงถึงเวลาแล้วที่จะพัฒนาให้เป็นร้านอาหาร คาเฟ่ สถานที่ท่องเที่ยว โฮมสเตย์ ฟาร์มสเตย์ 

ฟาร์มว่านหางจระเข้ เหมาะสำหรับผู้ที่รักสุขภาพและความงาม เนื่องจากสรรพคุณที่มากเหลือ รวมทั้งใช้ทานหรือใช้ทาก็ได้

ผักสลัดบนดิน เป็นผักที่มีราคา แต่การดูแลนั้นต้องใช้ความรู้มากกว่าการปลูกผักทั่วไป

ส่วนฟาร์มผสมระหว่างผักสลัดไฮโดรโปนิคส์กับวังไส้เดือน  เป็นการสร้างอัตถประโยชน์ หรือ Utilize ได้สูงกว่าผักสลัดบนดินโดยทั่วไป แต่ต้องใช้เงินลงทุนเพิ่มขึ้น แต่ก็คุ้มค่ากว่าในระยะยาว

เมื่อนำที่ดินมูลค่าไม่เกิน 50 ล้าน ซึ่งรกร้างมาทำประโยชน์ ภาษีจากสูงสุด 3 % จะเหลือเพียง 0 % หรือ ไม่ต้องเสียภาษีเลย 

สนใจ พัฒนาที่ดินการเกษตรในราคาสมเหตุสมผล ติดต่อเรา 081 4980888

Visitors: 173,883